คำสั่งควบคุมเงื่อนไข
ภาษาซีจะใช้ประโยค if ในการสร้างเงื่อนไข
ซึ่งสามารถตรวจสอบเงื่อนไขว่าตรงกับความจริง หรือความเท็จได้ นอกจากประโยค if แล้ว ในภาษาซียังมีการ กำหนดทางเลือกด้วยประโยค switch ให้ เลือกใช้อีกด้วย
1.
การควบคุมเงื่อนไข if-statement
ในการใช้ประโยคคำสั่ง if-statement เพื่อ ตรวจสอบเงื่อนไข มีอยู่ 4 รูปแบบด้วยกันคือ
1.1
การสร้างเงื่อนไขประโยคเดียว
เป็นการาตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงหรือเท็จ แล้วให้ทำชุดคำสั่งนั้นๆ
เป็นการาตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงหรือเท็จ แล้วให้ทำชุดคำสั่งนั้นๆ
1.2 การสร้างเงื่อนไข if...eles
เป็นการตรวจสอบว่า หากเงื่อนไขเป็นจริง ก็จะดำเนินการกับชุดคำสั่งที่กำหนดไว้ และหากเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะดำเนินการกับชุดคำสั่งหลังประโยค eles
เป็นการตรวจสอบว่า หากเงื่อนไขเป็นจริง ก็จะดำเนินการกับชุดคำสั่งที่กำหนดไว้ และหากเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะดำเนินการกับชุดคำสั่งหลังประโยค eles
จากรูปแบบเงื่อนไขข้างต้นที่ผ่านมา
้ป็นรูป แบบเงื่อนไขแค่ 2 กรณีเท่านั้น ดังนั้น หากรูปแบบการสร้างเงื่อนไขที่ต้องตรวจสอบหลายๆกรณีก็จะใช้ประโยค eles if เพื่อตรวจสอบ เป็นลำดับย่อยๆต่อไป
เป็นการสร้างรูปแบบเงื่อนไขที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นโดยจะมีการตรวจสอบเงื่อนไขซ้อนย่อยลงไปอีก ซึ่งการสร้างประโยคซ้อนเงื่อนไขดังกล่าวจำเป็นต้องตรวจสอบให้รอบคอบมิฉะนั้นอาจเกิดผลลัพธ์ที่ผิดพลาดได้
2.
การควบคุมเงื่อนไขด้วยปรโยค switch
นอกจาก if-else แล้วภาษาซียังมีคำสั่งควบคุมเงื่อนไขอีกตัวหนึ่งคือ switch ซึ่งสามารถนำมาใช้งานได้ ดีกับโปรแกรมที่มี รายการเมนูให้เลือก
คุณสมบัติของประโยค if และ switch มี ข้อแตกต่างกัน ดังต่อไปนี้
1.
switch ไม่สามารถตรวจสอบนิพจน์ชนิดเลขจำนวนจริง ที่มีจุด ทศนิยม
2.
switch นำมาใช้ตรวจสอบชนิดข้อมูลที่เป็นแบบ int หรือ char เท่านั้น
3.
การตรวจสอบเงื่อนไขภายใน case ของ switch
ในแต่ละกรณี จะไม่สามารถนำ ตัวแปรมาใช้ได้
จะใช้ได้แต่เพียงค่าคงที่เท่านั้น
4.
switch ไม่สามารถตรวจสอบเงื่อนไขหลายๆตัว ภายในนิพจน์ได้
การทำงานเป็นรอบ
โปรแกรมที่ผ่านมาล้วนเป็นการประมวลผลชุดคำสั่งเพียงรอบเดียวทั้งสิ้น แต่ในความเป็นจริงแล้วเราสามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ประมวล
ผลชุดคำสั่งต่างๆได้ เรียกว่า กระบวนการทำซ้ำ หรือ ลูป เช่น สร้างลูปเพื่อประมูลผลอ่าน ไฟล์ข้อมูลจนกระทั่งจบไฟล์ สร้างลูปเพื่อการคำนวณจนครบรอบ หรือสร้างลูปของรายการเมนู เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปแกรมไปได้เรื่อยๆ
ผลชุดคำสั่งต่างๆได้ เรียกว่า กระบวนการทำซ้ำ หรือ ลูป เช่น สร้างลูปเพื่อประมูลผลอ่าน ไฟล์ข้อมูลจนกระทั่งจบไฟล์ สร้างลูปเพื่อการคำนวณจนครบรอบ หรือสร้างลูปของรายการเมนู เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปแกรมไปได้เรื่อยๆ
คำสั่งทำงานเป็นรอบมีอยู่ 3 ประเภทด้วยกัน ดังนี้
1. การทำงานเป็นรอบด้วยลูป while
2. การทำงานเป็นรอบด้วยลูป do while
3. การทำงานเป็นรอบด้วยลูป for
2. การทำงานเป็นรอบด้วยลูป do while
3. การทำงานเป็นรอบด้วยลูป for
1.การทำงานเป็นรอบด้วยลูป while
คุณลักษณะของการทำงานเป็นรอบด้วยลูป while
1. ลูป while จะถูกทำงานต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง
2. เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็ขะหลุดออกจากลูป while
3. นิพจน์ที่นำมาใช้ตรวจสอบเงื่อนไข สามารถใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ
คุณลักษณะของการทำงานเป็นรอบด้วยลูป while
1. ลูป while จะถูกทำงานต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง
2. เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็ขะหลุดออกจากลูป while
3. นิพจน์ที่นำมาใช้ตรวจสอบเงื่อนไข สามารถใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ
2. การทำงานเป็นรอบด้วยลูป do while
คุณลักษณะของการทำงานเป็นรอบด้วยลูป do while
1. หากสร้างลูปด้วย do while ชุดคำสั่งภาย ในลูป อย่างน้อยจะต้องถูกทำงาน 1 รอบ เสมอ ถึงแม้ว่าการ ตรวจสอบเงื่อนไขครั้งแรกจะเป็นเท็จก็ตาม
คุณลักษณะของการทำงานเป็นรอบด้วยลูป do while
1. หากสร้างลูปด้วย do while ชุดคำสั่งภาย ในลูป อย่างน้อยจะต้องถูกทำงาน 1 รอบ เสมอ ถึงแม้ว่าการ ตรวจสอบเงื่อนไขครั้งแรกจะเป็นเท็จก็ตาม
3. การทำงานเป็นรอบด้วยลูป for
คุณลักษณะของการทำงานเป็นรอบด้วยลูป for
1. การทำงานของลูป จะเริ่มจากค่าเริ่มต้นที่กำหนดใน expression 1
คุณลักษณะของการทำงานเป็นรอบด้วยลูป for
1. การทำงานของลูป จะเริ่มจากค่าเริ่มต้นที่กำหนดใน expression 1
2.
รอบการทำงาน ขึ้นอยู่กับนิพจน์เงื่อนไขที่ตั้งไว้ใน expression 2
3.
การเพิ่มค่า counter ให้กับลูปใน expression 3 จะส่งผลต่อจำนวนรอบของลูป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น